วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
How to make Transformerless Electronics Power Supply, LED Drivers, Battery chargers, Solar projects: how to make a 48v Transformerless Electronic Autom...
How to make Transformerless Electronics Power Supply, LED Drivers, Battery chargers, Solar projects: how to make a 48v Transformerless Electronic Autom...: How to make a 48volt Transformerless Automatic Battery Pack Charger for electric Vehicles, e-scooty, e-car, e-rickshaws etc. By: Alok ...
WWW.PCNFORKLIFT.COM
WWW.PCNFORKLIFT.COM
วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2557
วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557
ระบบหล่อเย็น
ในระบบหล่อเย็นของเครื่องยนตืดีเซลนี้ จะมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์ในขณะที่ทำงานมีอุณหภูมิความร้อนสูงจนเกินไป หรือเกินขีดจำกัดที่เครื่องจะทนได้ ซึ่งเครื่องยนต์ดีเซลนั้น โดยปกติจะถูกออกเเบบให้ทำงานในอุณหภูมิที่มีความร้อนสูงมาก ดังนั้นระบบหล่อเย็นจึงมีหน้าที่นำความร้อนส่วนเกินของเครื่องยนต์ในขณะทำงานออกจากเครื่องยนต์ เเละอาจทำให้ส่วนประกอบอื่นๆ ของเครื่องยนต์เสื่อมสภาพหรือถึงขนาดชำรุดเสียหายได้
นอกจากนี้ระบบหล่อเย็นยังสามารถควบคุมอุณหภูมิจากความร้อนที่สูงขึ้ของเครื่องยนต์ได้อีกด้วย ซึ่งระบบดังกล่าวจะพยามยามรักษาระดับอุณหภูมิให้มีความคงที่ เเละกำจัดความร้อนส่วนเกินออกจากเครื่องยนต์ในขณะทำงาาน เนื่องจากหากเครื่องยนต์มีอุณหภูมิที่ต่ำหรือเย็นเกินไปก็อาจจะส่งผลให้ส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องยนต์เกิดการสึกหรอได้เช่นกัน ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งระบบหล่อเย็นเพื่อควมคุมอุณหภูมิของเครื่องยนต์ขณะทำงานอยู่ 2 เเบบ คือ
-ระบบหล่อเย็นด้วยอากาศ ซึ่งในตัวระบบจะปล่อยให้อากาศภายนอกผ่านเข้าสู้ตัวเครื่องยนต์โดยตรง ทำให้เกิดการถ่ายเทความร้อนโดยอาศัยอากาศเป็นตัวนำพา
-ระบบหล่อเย็นด้วยของเหลว ของเหลวที่ว่านี้ ก็คือน้ำโดยทั่วไปนั้นเอง โดยของเหลวเช่นน้ำนั้น จะไหล่ผ่านช่องต่างๆ ที่ถูกติดตั้งขึ้นในตัวของเครื่องยนต์เพื่อให้ความร้อนที่เกิดขึ้นถูกถ่ายเทไปกับน้ำที่ไหลผ่านสัมผัสตัวเครื่องยนต์นั้นซึ่งหลังจากที่น้ำถ่ายเทความร้อนออกจากเครื่องยนต์ในขณะทำงานเเล้ว น้ำร้อนเหล่านั้นจะถูกนำไปเก็บไว้ในอีกที่หนึ่ง เพื่อให้น้ำนั้นมีการปรับสภาพอุณหภูมิให้ลดลง(น้ำนั้นเย็นลง) จึงจะถูกส่งกลับไปไหลเวียนในระบบหล่อเย็นด้วยของเหลวตามเดิม สำหรับระบบหล่อเย็นนี้ จะมีอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบเพื่อทำงานในระบบดังนี้
1.หม้อน้ำ คือ ถังเก็บน้ำที่ใช้สำรองน้ำไว้ให้เพียงพอต่อการหมุนเวียนของระบบหล่อเย็น โดยหม้อน้ำจะเป็นเครื่องถ่ายเทความร้อนจากน้ำไปสู่อากาศโดยคอยล์ร้อน
2.พัดลม คือ อุปกรณ์ที่มีหน้าที่ดูดเอาลมผ่านหม้อน้ำเพื่อคลายความร้อนออกจากน้ำในหม้อน้ำ ซึ่งพัดลมนี้จะทำงานตามระยะเวลาที่ถูกตั้งไว้ เพื่อใหเมีการระบายความร้อนออกจากหม้อน้ำเป็นช่วงๆ
3. ปั๊มน้ำ คือ อุปกรณ์ที่มีหน้าที่ปล่อยน้ำให้ไหลเวียนในระบบหล่อเย็นได้อย่างเพียงพอเเละเหมาะสม
4.เทอร์โมสตัด สำหรับอุปกรณ์ชนิดนี้ จะมีหน้าที่ควมคุมอุณหภูมิในระบบหล่อเย็น โดยจะสั่งการให้ปล่อยน้ำเพื่อทำการไหลเวียนเพื่อคลายความร้อนให้เเก่เครื่องยนต์ ซึ่งเทอร์โมสตัดนี่้ จะควบคุมให้มีการหล่อเย็นเป็นช่วงๆ ตามความเหมาะสมเพื่อรักษาระดับอุณหภูมิให้เเกเครื่องยนต์
WWW.PCNFORKLIFT.COM
WWW.PCNFORKLIFT.COM
วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันพุธที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
FORKLIFT คืออะไร
FORKLILFT
รถฟอร์คลิฟท์ หรือรถโฟร์คลิฟท์ที่เราเรียกและใช้งานกันอยู่นั้น อันที่จริงแล้วไม่ใช่รถ แต่เป็นเครื่องจักรชนิดหนึ่ง เพียงแต่มีล้อเราจึงเรียกเครื่องจักรชนิดนี้ว่ารถ
รถยก หรือ “โฟร์คลิฟท์” หรือ “ฟอร์คลิฟท์” มาจากคำภาษาอังกฤษว่า “FORKLIFT” ซึ่งเป็นการผสมคำสองคำ คือ “FORK” ที่แปลว่า “ช้อนส้อม” และ คำว่า “LIFT” ที่แปลว่า “การขึ้นลงในแนวตั้ง
รถยกแบ่งออกตามประเภทของต้นกำลังขับเคลื่อนได้ 2 ประเภท คือ
1. ENGINE FORKLIFT รถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง โดยใช้นำมันเป็นเชื้อเพลิง รถยกประเภทนี้สามารถแบ่งออกตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ
1.1 DIESEL ENGINE (เครื่องยนต์ดีเซล)
1.2 GASOLINE ENGINE (เครื่องยนต์แก๊สโซลีน)
1.3 L.P.G. ENGINE (เครื่องยนต์แก๊ส L.P.G.)
นอกจากนั้นรถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สามารถแบ่งตามระบบส่งกำลังได้ 2 ประเภทคือ
- ระบบส่งกำลังด้วยทอร์ค (TOROFLOW TRANSMISSION)
- ระบบส่งกำลังด้วยคลัทซ์ (DIRECT DRIVE)
2. BATTERY FORKLIFT รถยกไฟฟ้าใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังขับเคลื่อนโดยได้รับกระแสไฟฟ้ามาจากแบตเตอรี่ รถยกไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างภายนอกได้เป็น 2 แบบ คือ
- แบบ COUNTER BALANCIT (แบบนั่งขับ)
- แบบ REACH TURCK (แบบยืนขับ)
รถฟอร์คลิฟท์ หรือรถโฟร์คลิฟท์ที่เราเรียกและใช้งานกันอยู่นั้น อันที่จริงแล้วไม่ใช่รถ แต่เป็นเครื่องจักรชนิดหนึ่ง เพียงแต่มีล้อเราจึงเรียกเครื่องจักรชนิดนี้ว่ารถ
รถยก หรือ “โฟร์คลิฟท์” หรือ “ฟอร์คลิฟท์” มาจากคำภาษาอังกฤษว่า “FORKLIFT” ซึ่งเป็นการผสมคำสองคำ คือ “FORK” ที่แปลว่า “ช้อนส้อม” และ คำว่า “LIFT” ที่แปลว่า “การขึ้นลงในแนวตั้ง
รถยกแบ่งออกตามประเภทของต้นกำลังขับเคลื่อนได้ 2 ประเภท คือ
1. ENGINE FORKLIFT รถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง โดยใช้นำมันเป็นเชื้อเพลิง รถยกประเภทนี้สามารถแบ่งออกตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ
1.1 DIESEL ENGINE (เครื่องยนต์ดีเซล)
1.2 GASOLINE ENGINE (เครื่องยนต์แก๊สโซลีน)
1.3 L.P.G. ENGINE (เครื่องยนต์แก๊ส L.P.G.)
นอกจากนั้นรถยกที่ใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง สามารถแบ่งตามระบบส่งกำลังได้ 2 ประเภทคือ
- ระบบส่งกำลังด้วยทอร์ค (TOROFLOW TRANSMISSION)
- ระบบส่งกำลังด้วยคลัทซ์ (DIRECT DRIVE)
2. BATTERY FORKLIFT รถยกไฟฟ้าใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังขับเคลื่อนโดยได้รับกระแสไฟฟ้ามาจากแบตเตอรี่ รถยกไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างภายนอกได้เป็น 2 แบบ คือ
- แบบ COUNTER BALANCIT (แบบนั่งขับ)
- แบบ REACH TURCK (แบบยืนขับ)
วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2557
จำหน่าย หม้อต้มแก๊ส รถโฟล์คลิฟท์
หลักการทำงานของหม้อต้มแก๊ส
หม้อต้มแก๊สหรือ Reducer ทำหน้าที่เปลี่ยนสถานะของแก๊สซึ่งปกติแล้วเวลามันอยู่
ในถังแก๊สจะเป็นของเหลว (เหมือนที่เห็นในไฟแช็คอ่ะ เป็นอย่างนั้น)ให้กลายเป็นไอ
(แก๊สจะกลายเป็นไอได้ต้องลดแรงดันลง) โดยแก๊สจากถังจะต้องผ่านหม้อต้มแก๊ส
เพื่อเปลี่ยนสถานะให้เป็นไอและส่งต่อเข้าไปยังเครื่องยนต์ ที่นี้การเปลี่ยนสถานะของ
แก๊สให้กลายเป็นไอก็ต้องใช้พลังงานมาช่วยก็คือพลังงานความร้อนจากระบบระบาย
ความร้อนของรถยนต์คือน้ำจากหม้อน้ำนั่นเองจะช่วยให้แก๊สเปลียนสถานะได้เร็วขึ้น
หม้อต้มแก๊ส LPG ก็จะมีอยู่ 2 ระบบ
1. หม้อต้มแก๊สระบบดูด หม้อต้มระบบนี้จะไม่มีแรงดันให้แก๊สออกครับ จะต้องอาศัยแรง
ดูดจากเครื่องยนต์เท่านั้นถึงจะมีแก๊สออกไป
2. หม้อต้มแก๊สระบบแก๊สหัวฉีด หม้อต้มแบบนี้จะมีแรงดันประมาณสัก 2 บาร์ได้
เพื่อส่งแก๊สไปที่หัวฉีดและจ่ายแก๊สออกไปเมื่อหัวฉีดเปิดครับ
มาว่ากันถึงเสป็ค หม้อต้มแก๊ส
ปกติแล้วหม้อต้มแก๊ส จะมีเสป็คบอกไว้ว่ารองรับเครื่องได้กี่แรงม้าไม่ใช่ว่าใส่แล้ว
จะมีแรงม้าตามที่ระบุเหมือนที่หลายคนเข้าใจ ซึ่งนั่นหมายถึงเข้าใจผิดครับ เช่น
เครื่องยนต์มีแรงม้า 100 แรงม้า ถ้าติดหม้อต้ม 200 แรงม้า เครื่องก็มี 100 แรงม้าเท่า
เดิม (ก็ม้าที่มีมาจากโรงงานมันแค่ 100 ตัวนี่)
แต่ถ้าหากเครื่องยนต์ 100 แรงม้า ติดหม้อต้มที่มีกำลังจ่ายแค่ 80 แรงม้า อย่างนี้มี
ปัญหาครับเวลาใช้แก๊สจะเร่งไม่ค่อยออกครับเพราะแก๊สไม่พอเลี้ยงม้า 100 ตัวของ
เครื่องยนต์ครับ อย่างน้อยเครื่องยนต์มี 100 แรงม้า หม้อต้มแก๊สก็ควรจะรองรับ
ได้สัก 100 แรงม้าหรือให้ดีเผื่อสักนิดเป็น 120 แรงม้าไรทำนองนี้ก็ได้ครับ จะได้ไม่มี
ปัญหาแก๊สจ่ายไม่พอเวลาเร่งรอบสูงๆหรือต้องการกำลังฉุดลากมากๆ ครับ
ปกติทั่วไปมันไม่เป็นไรก็ไม่มีใครจะไปรื้อมันหรอกครับ
งั้นหาเหตุที่จะรื้อดีกว่า
1. กินแก๊สมากผิดปรกติ
2. จูนไม่จบสักทีเปลี่ยนหัวฉีดแล้วด้วย
3. สตาร์ทยากเปลี่ยนหรือเช็คหัวฉีดแล้วด้วยเหมือนกัน
4. เร่งไม่ขึ้น อืดผิดปรกติ
5. น้ำในหม้อน้ำหายหรือมีคราบน้ำที่หม้อต้ม
เมื่อนับได้ 5 ข้อแล้ว ก็มารื้อเปลี่ยนชุดซ่อมกันดีกว่าครับ 555
วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2557
การเติมน้ำมันเชื้อเพลิงและการชาร์จแบตเตอร์รี่รถฟอร์คลิฟท์
การเติมน้ำมันเชื้อเพลิงและการชาร์จแบตเตอร์รี่รถฟอร์คลิฟท์
การเติมน้ำมันเชื้อเพิลงขณะเติมระงับการจุดไฟ ผู้ขับควรเติมน้ำมันและชาร์จแบตเตอร์รี่ด้วยความระมัดระวังเพื่อให้เกิดความปลอดภัย โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้-จอดรถฟอร์คลิฟท์ ในพื้นที่เติมน้ำมันเชื้อเพลิง และชาร์จแบตเตอร์รี่-ไม่ควรปิดทางเข้าออกประตูไปยังสถานที่มีแบตเตอร์รี่ หรือจุดที่อาจเกิดเหตุฉุกเฉิน-มั่นใจว่าพื้นที่ชาร์จแบตเตอร์รี่มีระบบระบายอากาศที่ดี-เช็คถังดับเพลิงว่าอยูใกล้พื้นที่หรือไม่การเติมน้ำมันดีเซลและแก๊ซโซลีน-ดับเครื่องยนต์และระบบไฟที่อาจไหม้รถฟอร์คลิฟท์-ไม่จุดบุหรี่หรือไฟใกล้รถฟอร์คลิฟท์-มั่นใจว่าหัวจ่ายน้ำมัน ตรงกับกรวยรับ ก่อนจ่ายน้ำมันหรือก๊าซ-อย่าทำน้ำมันหก ถ้ามีให้รีบเช็ดทำความสะอาด-กรณีใช้ถังน้ำมันต้องมั่นใจว่าถังที่ใช้มีความสะอาดและได้มาตรฐานการเติมแก๊ซโปรเพนเหลว-ก่อนเปลี่ยนถังแก๊ซ ให้ดับเครื่อง ปิดวาล์ว-ดับเครื่อง ระบบไฟส่องสว่างที่อาจไหม้รถฟอร์คลิฟท์-ตรวจสอบรอยต่อ รอยรั่วระหว่างถังกับเครื่องยนต์-ก๊าซ LPG หนักกว่าอากาศ ต้องระบายอากาศออกก่อนเปลี่ยนถังหรือเติมก๊าซ-ห้ามสูบบุหรี่ มั่นใจว่าไม่จุดใกล้รถฟอร์คลิฟท์แบตเตอร์รี่รถฟอรคลิฟท์ ที่นิยมใช้มี 3 รูปแบบคือ-แบบกรด+ตะกั่วมาตรฐาน-แบบกรด+ตะกั่วที่ขยายเวลาการซ่อมบำรุง-แบบใช้แล้วทิ้ง เช่นแบบเจลไม่ต้องชาร์จการใช้งาน
วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย
วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย
วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย1.กำลังความสามารถของฟอร์คลิฟท์ ให้ยกวัสดุในอัตราน้ำหนักปลอดภัยสูงสุด โดยให้สินค้าอยู่ในตำแหน่งศูนย์กลางในการยก การยกน้ำหนักเกินส่งผลให้รถยกพังเร็วขึ้นและอาจทำให้เกิดอันตรายได้2.สินค้าที่บรรทุก(Load) น้ำหนัก ขนาด รูปร่าง มีผลต่อวิธีการยกสินค้าเมื่อยกสินค้ารถจะทรงตัวได้น้อยกว่า การยกสินค้าขณะเคลื่อนที่ไม่ควรยกในระดับสูง ควรยกในระดับ 20 เซนติเมตรจากพื้น ควรศึกษาพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน สิ่งกีดขวาง มุมเลี้ยว และสินค้าที่จะยกก่อนปฏิบัติงาน3.การตรวจเชคสินค้าก่อนปฏิบัติงาน ควรปฏิบัติดังนี้-ทราบวิธีการอ่านแผ่นข้อมูลความสามารถในการยก -ทราบความสามารถของรถยก อย่ายกเกินที่กำหนด ต้องทราบน้ำหนักของสินค้าที่จะยก-ถ้าสินค้าวางในตำแหน่งที่ไม่ปลอดภัยและถูกต้องให้ทำการยกสินค้าใหม่-ถ้าพาเลทพัง ให้นำออกจากการใช้งาน-ถ้าสินค้ามีความกว้าง หรือยาว อาจมองหาทางเดินรถทางอื่น-ถ้าวัสดุที่ยกมีความยาวต่างกัน พยายามวางให้อยู่กลางพาเลทขณะที่ทำการยก-จัดตำแหน่งพาเลทเพื่อให้รองรับน้ำหนักสินค้าให้ดีที่สุด และมีความสมดุล-ตรวจเชคสินค้าก่อนยก เพื่อสร้างความมั่นใจว่าไม่กระทบต่อคน และสิ่งต่างๆ4.การขนสินค้า-มั่นใจว่าสินค้าที่ขนแต่ละพาเลท ได้ลดระดับให้ต่ำลงตามที่ผู้ผลิตรถกำหนดและปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานที่ปลอดภัย อย่าขับรถโดยยกระดับพาเลทสูงขึ้น ให้ลดระดับต่ำลงก่อนเคลื่อนย้ายและเลี้ยวรถ-อย่าบรรทุกสินค้าให้โน้มเอียง เพราะอาจจะล้มได้ เมื่อขับรถยกซึ่งสินค้าเอนเอียงให้เอียงกลับด้านหลัง ยกระดับเท่าที่จำเป็นในการวิ่งเท่านั้นและอย่าเลี้ยวรถในขณะที่สินค้าเอียง-อย่าผูกเชือกกับเสารถยกเพื่อดึงหรือลากสินค้า ถ้าจำเป็นต้องผูกต้องทำตามวิธีการผูกที่ได้ระบุการรับรองว่าปลอดภัย-อย่าผูกลวดสลิงกับพาเลท แล้วยกด้วยงา เพราะสินค้าอาจจะหลุดจากพาเลทได้ ถ้าจะใช้ควรใช้กับแขนของปั้นจั่น(Jib)5.การขับขี่ไปยังรถบรรทุก-มั่นใจว่าแท่นที่ต่อท้ายรถบรรทุก หรือสะพานพาดได้ล็อคแล้วมีความแข็งแรงและสามารถรองรับน้ำหนักของสินค้าและรถยกได้-ล้อรถบรรทุกได้ยึดและใช้เบรคมือสำหรับจอดเรียบร้อยแล้ว-มีระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเคลื่อนรถบรรทุกสินค้าออกจากท่า ว่าสินค้าต้องวางเต็มแล้ว-การจอดรถกึ่งพ่วง ในขณะขึ้นสินค้าควรมีขาตั้งวางบนพื้น และระวังพื้นที่ตั้งขาด้วยว่าสามารถรับน้ำหนักจากขาหรือไม่6.การใช้ทางลาดเอียง-ทางลาดเอียงต้องแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้ำหนักของสินค้าและรถยก ต้องรักษาทางลาดให้อยู่ในสภาพดี สามารถใช้ได้ดีถึงแม้สภาพอากาศเปียกชื้น สามารถย้ายสินค้าได้อย่างราบรื่นทั้งขึ้นและลงนอกจากนั้นต้องมีมุมลาดเอียงที่ปลอดภัย-มีราวกันตกด้านข้างเพื่อป้องกันล้อวิ่งออกนอกทาง และถ้าต้องการใช้สะพานพาดที่ลาดเอียงเพื่อทำงานต้องจัดเตรียมระบบล็อค และอุปกรณืเชื่อมต่อกับตัวอาคาร7.การมองเห็นอย่างชัดเจน ถ้าสินค้าที่บรรทุกบดบังทางเดินรถในขณะรถวิ่งให้คนงานอื่นบอกทาง และมั่นใจว่าทุกการขนสินค้ามองเห็นทางรถวิ่งตลอดเวลา ถ้ามองไม่เห็นให้หยุดรถทันทีหรือต้องขับถอยหลังถ้าไม่สามารถมองเห็นจากด้านหน้า
WWW.PCNFORKLIFT.COM
WWW.PCNFORKLIFT.COM
วันพุธที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557
วันศุกร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2557
spare parts forklift
Transmission parts
Cable, clutch ;
CABLE,ENGAGE ;
CASE SUB-ASSY,OIL PUMP ;
COVER ASSY,CONTROL VALVE SMALL UPPER ;
cover, input shaft ;
FLEX PLATE ;
GEAR,IDLER ;
GEAR,INPUT ;
INSULATOR MOUNTING ;
JOINT ASSY,UNIVERSAL ;
OIL Pump ;
regulating stem ;
RING GEAR ;
SHAFT ,INPUT ;
SHAFT,COUNTER ;
SHAFT,IDLER ;
SOLENOID VALVE ;
SPIDER SET,UNIVERSAL ;
STRAINER ;
STRAINER SUB-ASSY,OIL ;
SYCHRO NIZER ASS`Y ;
Torque Converter ;
TORQUE CONVERTOR HEAD ;
Transmission Kit ;
Transmission Repair Kits ;
VALVE ASSY,CONTROL,W/REGULATOR ;
brake and clutch parts
BOOSTER O/H KIT,CLUTCH ;
BRAKE ASSY,WHEEL ;
BRAKE ASSY,WHEEL REPAIR KITS ;
Brake booster ;
Brake Cable ;
BRAKE PADS ;
Brake Shoe ;
CABLE ASSY,PARKING ;
CLUTCH DISC ;
Clutch Master ;
Clutch O/H KIT ,MASTER ;
Clutch O/H KIT,RELEASE ;
COVER ASSY-CLUTCH ;
CYLINDER ASSY,CLUTCH RELEASE ;
CYLINDER O/H KIT,MASTER ;
CYLINDER O/H KIT,WHEEL ;
Housing Clutch ;
Master Cylinder ;
PLATE,CLUTCH ;
SCREW SUB-ASSY,ADJUSTING ;
SCREW SUB-ASSY,ADJUSTING,RH ;
SPRING,TORSION ;
Wheel Cylinder ;
Electrical/Manual lift truck
Bush ;
Loading Wheel
Manual forklift
MANUAL PALLET TRUCKS PU BIG WHEEL
MANUAL PALLET TRUCKS PU Small WHEEL
Shaft ;
Solenoid Switch
Electrical parts
ACTUATOR ;
ALTERINATOR ;
BACKUP ALARMS ;
Battery ;
BREAK LIGHT SWITCH ;
Brush ;
Bulb ;
CABLE,SPARK PLUG ;
CHARGER ;
COMBINATION SWITCH ;
CONNECTOR ;
CONTACT SUB-ASSY ;
CONTACTOR ASSY ;
CONTROLLER ASSY ;
DISTRIBUTOR ;
DISTRIBUTOR CAP ;
DRIVE MOTOR ;
ELECTRIC CABLE ;
ELECTRONIC CARDS ;
EMERGENCY DISCONNECT SWITCH ;
Fuse ;
GLOW PLUG ;
Head Light Switch ;
Horn ;
HORN BUTTON ;
Ignition ;
INDICATOR SWITCH ;
LAMP ASSY,HEAD ;
LAMP ASSY,REAR ;
LAMP WARNING ;
LAMP,COMBINATION FR Head ;
MICRO SWITCH ;
MODULE ;
MOTOR ASSY,POWER STEERING ;
POTENTIOMETER ;
ROTOR ;
SENSOR ;
SENSOR ASSY, TORQUE ;
SPARK PLUGS ;
Starter ;
SWITCH ASSY,IGNITION STARTER ;
SWITCH FORWARD/REVERSE ;
SWITCH,BACKUP ;
Traction battery ;
WATER TEMP SENDER ;
engine parts
AIR FILTER ;
BEARING SET,CAMSHAFT ;
BEARING SET,CONNECTING ROD ;
BEARING SET,MAIN ;
BEARING SET,MAIN ;
Belt ;
BUSHING,CONNECTING ROD ;
CAMSHAFT ;
CAP SUB-ASSY,FUEL ;
CARBURETOR ;
connecting rod ;
COVER,THERMOSTAT ;
Crankshaft ;
cylinder block ;
Cylinder Head ;
Diesel oil pump Solenoid ;
diesel pump ;
Engine ;
ENGINE MOUNT ;
FAN ;
Fan Belt ;
Fan Cooling ;
FILTER FUEL ;
Flywheel ;
Fuel Filter ;
Fuel Injector ;
FUEL PUMP ;
GEAR,IDLE (FOR CAMSHAFT) ;
HEAD GASKET ;
HOSE,WATER BYPASS ;
HOUSING-FLYWHEEL ;
Injection Nozzle ;
Liner ;
LINER KIT ;
LOCK VALVE ;
OIL COOLER STD ;
OIL FILTER ;
Oil Pump ;
OULET VALVE ;
PIPE,WATER OUTLET ;
Piston ;
Piston Ring ;
PLATE,THRUST ;
PULLEY,CRANKSHAFT ;
PUMP HEAD ;
RADIATOR ;
RADIATOR CAP ;
REGULATOR ASSY,LPG ;
Repair Kit OVERHAUL ;
Ring Gear ;
ROD,PUSH ;
SEAL VALVE ;
SHAFT SUB-ASSY,VALVE ROCKER ;
Starter Support ;
TAPPET,VALVE ;
THERMOSTAT ;
Thermostat housing ;
Timing Belt ;
Timing Chain ;
TIMING GEAR,CRANKSHAFT ;
VALVE GUIDE,EXHAUSE ;
VALVE GUIDE,INLET ;
VALVE SEAT,INLET ;
VALVE SEAT,OUTLET ;
VALVE SUB-ASSY,SOLENOID,LPG ;
VALVE,INLET ;
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)