วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2557

จำหน่าย หม้อต้มแก๊ส รถโฟล์คลิฟท์






หลักการทำงานของหม้อต้มแก๊ส


หม้อต้มแก๊สหรือ Reducer ทำหน้าที่เปลี่ยนสถานะของแก๊สซึ่งปกติแล้วเวลามันอยู่
ในถังแก๊สจะเป็นของเหลว (เหมือนที่เห็นในไฟแช็คอ่ะ เป็นอย่างนั้น)ให้กลายเป็นไอ
(แก๊สจะกลายเป็นไอได้ต้องลดแรงดันลง) โดยแก๊สจากถังจะต้องผ่านหม้อต้มแก๊ส
เพื่อเปลี่ยนสถานะให้เป็นไอและส่งต่อเข้าไปยังเครื่องยนต์ ที่นี้การเปลี่ยนสถานะของ
แก๊สให้กลายเป็นไอก็ต้องใช้พลังงานมาช่วยก็คือพลังงานความร้อนจากระบบระบาย
ความร้อนของรถยนต์คือน้ำจากหม้อน้ำนั่นเองจะช่วยให้แก๊สเปลียนสถานะได้เร็วขึ้น

หม้อต้มแก๊ส LPG ก็จะมีอยู่ 2 ระบบ
1. หม้อต้มแก๊สระบบดูด หม้อต้มระบบนี้จะไม่มีแรงดันให้แก๊สออกครับ จะต้องอาศัยแรง
ดูดจากเครื่องยนต์เท่านั้นถึงจะมีแก๊สออกไป
2. หม้อต้มแก๊สระบบแก๊สหัวฉีด หม้อต้มแบบนี้จะมีแรงดันประมาณสัก 2 บาร์ได้
เพื่อส่งแก๊สไปที่หัวฉีดและจ่ายแก๊สออกไปเมื่อหัวฉีดเปิดครับ
 มาว่ากันถึงเสป็ค หม้อต้มแก๊ส 
ปกติแล้วหม้อต้มแก๊ส จะมีเสป็คบอกไว้ว่ารองรับเครื่องได้กี่แรงม้าไม่ใช่ว่าใส่แล้ว
จะมีแรงม้าตามที่ระบุเหมือนที่หลายคนเข้าใจ ซึ่งนั่นหมายถึงเข้าใจผิดครับ เช่น
เครื่องยนต์มีแรงม้า 100 แรงม้า ถ้าติดหม้อต้ม 200 แรงม้า เครื่องก็มี 100 แรงม้าเท่า
เดิม (ก็ม้าที่มีมาจากโรงงานมันแค่ 100 ตัวนี่)
แต่ถ้าหากเครื่องยนต์ 100 แรงม้า ติดหม้อต้มที่มีกำลังจ่ายแค่ 80 แรงม้า อย่างนี้มี
ปัญหาครับเวลาใช้แก๊สจะเร่งไม่ค่อยออกครับเพราะแก๊สไม่พอเลี้ยงม้า 100 ตัวของ
เครื่องยนต์ครับ อย่างน้อยเครื่องยนต์มี 100 แรงม้า หม้อต้มแก๊สก็ควรจะรองรับ
ได้สัก 100 แรงม้าหรือให้ดีเผื่อสักนิดเป็น 120 แรงม้าไรทำนองนี้ก็ได้ครับ จะได้ไม่มี
ปัญหาแก๊สจ่ายไม่พอเวลาเร่งรอบสูงๆหรือต้องการกำลังฉุดลากมากๆ ครับ

ปกติทั่วไปมันไม่เป็นไรก็ไม่มีใครจะไปรื้อมันหรอกครับ
งั้นหาเหตุที่จะรื้อดีกว่า
1. กินแก๊สมากผิดปรกติ
2. จูนไม่จบสักทีเปลี่ยนหัวฉีดแล้วด้วย
3. สตาร์ทยากเปลี่ยนหรือเช็คหัวฉีดแล้วด้วยเหมือนกัน
4. เร่งไม่ขึ้น อืดผิดปรกติ
5. น้ำในหม้อน้ำหายหรือมีคราบน้ำที่หม้อต้ม
เมื่อนับได้ 5 ข้อแล้ว ก็มารื้อเปลี่ยนชุดซ่อมกันดีกว่าครับ 555
จะอธิบายจุดต่างๆไปด้วยครับ แบบง่ายๆก็แล้วกัน

WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2557

กล่องควบคุมรถ STACKER ZAPI เสียเดินหน้าถอยหลังไม่ได้

ปั๊มนำ้รถบรรทุก อีซุซุ tx

การเติมน้ำมันเชื้อเพลิงและการชาร์จแบตเตอร์รี่รถฟอร์คลิฟท์

การเติมน้ำมันเชื้อเพลิงและการชาร์จแบตเตอร์รี่รถฟอร์คลิฟท์
การเติมน้ำมันเชื้อเพิลงขณะเติมระงับการจุดไฟ ผู้ขับควรเติมน้ำมันและชาร์จแบตเตอร์รี่ด้วยความระมัดระวังเพื่อให้เกิดความปลอดภัย โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้-จอดรถฟอร์คลิฟท์ ในพื้นที่เติมน้ำมันเชื้อเพลิง และชาร์จแบตเตอร์รี่-ไม่ควรปิดทางเข้าออกประตูไปยังสถานที่มีแบตเตอร์รี่ หรือจุดที่อาจเกิดเหตุฉุกเฉิน-มั่นใจว่าพื้นที่ชาร์จแบตเตอร์รี่มีระบบระบายอากาศที่ดี-เช็คถังดับเพลิงว่าอยูใกล้พื้นที่หรือไม่การเติมน้ำมันดีเซลและแก๊ซโซลีน-ดับเครื่องยนต์และระบบไฟที่อาจไหม้รถฟอร์คลิฟท์-ไม่จุดบุหรี่หรือไฟใกล้รถฟอร์คลิฟท์-มั่นใจว่าหัวจ่ายน้ำมัน ตรงกับกรวยรับ ก่อนจ่ายน้ำมันหรือก๊าซ-อย่าทำน้ำมันหก ถ้ามีให้รีบเช็ดทำความสะอาด-กรณีใช้ถังน้ำมันต้องมั่นใจว่าถังที่ใช้มีความสะอาดและได้มาตรฐานการเติมแก๊ซโปรเพนเหลว-ก่อนเปลี่ยนถังแก๊ซ ให้ดับเครื่อง ปิดวาล์ว-ดับเครื่อง ระบบไฟส่องสว่างที่อาจไหม้รถฟอร์คลิฟท์-ตรวจสอบรอยต่อ รอยรั่วระหว่างถังกับเครื่องยนต์-ก๊าซ LPG หนักกว่าอากาศ ต้องระบายอากาศออกก่อนเปลี่ยนถังหรือเติมก๊าซ-ห้ามสูบบุหรี่ มั่นใจว่าไม่จุดใกล้รถฟอร์คลิฟท์แบตเตอร์รี่รถฟอรคลิฟท์ ที่นิยมใช้มี 3 รูปแบบคือ-แบบกรด+ตะกั่วมาตรฐาน-แบบกรด+ตะกั่วที่ขยายเวลาการซ่อมบำรุง-แบบใช้แล้วทิ้ง เช่นแบบเจลไม่ต้องชาร์จการใช้งาน

วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย

วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย
วิธีการยกขนสินค้าอย่างปลอดภัย1.กำลังความสามารถของฟอร์คลิฟท์ ให้ยกวัสดุในอัตราน้ำหนักปลอดภัยสูงสุด โดยให้สินค้าอยู่ในตำแหน่งศูนย์กลางในการยก การยกน้ำหนักเกินส่งผลให้รถยกพังเร็วขึ้นและอาจทำให้เกิดอันตรายได้2.สินค้าที่บรรทุก(Load) น้ำหนัก ขนาด รูปร่าง มีผลต่อวิธีการยกสินค้าเมื่อยกสินค้ารถจะทรงตัวได้น้อยกว่า การยกสินค้าขณะเคลื่อนที่ไม่ควรยกในระดับสูง ควรยกในระดับ 20 เซนติเมตรจากพื้น ควรศึกษาพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน สิ่งกีดขวาง มุมเลี้ยว และสินค้าที่จะยกก่อนปฏิบัติงาน3.การตรวจเชคสินค้าก่อนปฏิบัติงาน ควรปฏิบัติดังนี้-ทราบวิธีการอ่านแผ่นข้อมูลความสามารถในการยก -ทราบความสามารถของรถยก อย่ายกเกินที่กำหนด ต้องทราบน้ำหนักของสินค้าที่จะยก-ถ้าสินค้าวางในตำแหน่งที่ไม่ปลอดภัยและถูกต้องให้ทำการยกสินค้าใหม่-ถ้าพาเลทพัง ให้นำออกจากการใช้งาน-ถ้าสินค้ามีความกว้าง หรือยาว อาจมองหาทางเดินรถทางอื่น-ถ้าวัสดุที่ยกมีความยาวต่างกัน พยายามวางให้อยู่กลางพาเลทขณะที่ทำการยก-จัดตำแหน่งพาเลทเพื่อให้รองรับน้ำหนักสินค้าให้ดีที่สุด และมีความสมดุล-ตรวจเชคสินค้าก่อนยก เพื่อสร้างความมั่นใจว่าไม่กระทบต่อคน และสิ่งต่างๆ4.การขนสินค้า-มั่นใจว่าสินค้าที่ขนแต่ละพาเลท ได้ลดระดับให้ต่ำลงตามที่ผู้ผลิตรถกำหนดและปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานที่ปลอดภัย อย่าขับรถโดยยกระดับพาเลทสูงขึ้น ให้ลดระดับต่ำลงก่อนเคลื่อนย้ายและเลี้ยวรถ-อย่าบรรทุกสินค้าให้โน้มเอียง เพราะอาจจะล้มได้ เมื่อขับรถยกซึ่งสินค้าเอนเอียงให้เอียงกลับด้านหลัง ยกระดับเท่าที่จำเป็นในการวิ่งเท่านั้นและอย่าเลี้ยวรถในขณะที่สินค้าเอียง-อย่าผูกเชือกกับเสารถยกเพื่อดึงหรือลากสินค้า ถ้าจำเป็นต้องผูกต้องทำตามวิธีการผูกที่ได้ระบุการรับรองว่าปลอดภัย-อย่าผูกลวดสลิงกับพาเลท แล้วยกด้วยงา เพราะสินค้าอาจจะหลุดจากพาเลทได้ ถ้าจะใช้ควรใช้กับแขนของปั้นจั่น(Jib)5.การขับขี่ไปยังรถบรรทุก-มั่นใจว่าแท่นที่ต่อท้ายรถบรรทุก หรือสะพานพาดได้ล็อคแล้วมีความแข็งแรงและสามารถรองรับน้ำหนักของสินค้าและรถยกได้-ล้อรถบรรทุกได้ยึดและใช้เบรคมือสำหรับจอดเรียบร้อยแล้ว-มีระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเคลื่อนรถบรรทุกสินค้าออกจากท่า ว่าสินค้าต้องวางเต็มแล้ว-การจอดรถกึ่งพ่วง ในขณะขึ้นสินค้าควรมีขาตั้งวางบนพื้น และระวังพื้นที่ตั้งขาด้วยว่าสามารถรับน้ำหนักจากขาหรือไม่6.การใช้ทางลาดเอียง-ทางลาดเอียงต้องแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้ำหนักของสินค้าและรถยก ต้องรักษาทางลาดให้อยู่ในสภาพดี สามารถใช้ได้ดีถึงแม้สภาพอากาศเปียกชื้น สามารถย้ายสินค้าได้อย่างราบรื่นทั้งขึ้นและลงนอกจากนั้นต้องมีมุมลาดเอียงที่ปลอดภัย-มีราวกันตกด้านข้างเพื่อป้องกันล้อวิ่งออกนอกทาง และถ้าต้องการใช้สะพานพาดที่ลาดเอียงเพื่อทำงานต้องจัดเตรียมระบบล็อค และอุปกรณืเชื่อมต่อกับตัวอาคาร7.การมองเห็นอย่างชัดเจน ถ้าสินค้าที่บรรทุกบดบังทางเดินรถในขณะรถวิ่งให้คนงานอื่นบอกทาง และมั่นใจว่าทุกการขนสินค้ามองเห็นทางรถวิ่งตลอดเวลา ถ้ามองไม่เห็นให้หยุดรถทันทีหรือต้องขับถอยหลังถ้าไม่สามารถมองเห็นจากด้านหน้า

WWW.PCNFORKLIFT.COM

เเม่ปั๊มเบรคล่าง toyota/model:6FD20

ตรวจเช็ครถกระเช้าไฟฟ้า อาการชาร์ตแบ็ตไฟไม่เข้า

รถกระเช้าไฟฟ้า GENIE Z-30 / 20N แบ็ตเตอรี่เสีย

Hilarious Forklift accidents.......very funny!



WWW.PCNFORKLIFT.COM

Top 10 Forklift Accidents !



WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันพุธที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2557

ไดสตาร์ทโฟล์คลิฟท์นิสสัน เครื่อง TD42 12V 6 สูบเป็นแบบไดตรง

Accu-Tilt



WWW.PCNFORKLIFT.COM

Energic Replus battery regenerator



WWW.PCNFORKLIFT.COM

Tyre Press | Heavy Duty Tyre Press 120T & 150T Tyre Presses



WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2557

ซ่อมระบบแก๊สรถโฟล์คลิฟท์ MITSUBISHI 1.5 TON



WWW.PCNFORKLIFT.COM

spare parts forklift

Transmission parts

Cable, clutch ; 
CABLE,ENGAGE ; 
CASE SUB-ASSY,OIL PUMP ; 
COVER ASSY,CONTROL VALVE SMALL UPPER ; 
cover, input shaft ; 
FLEX PLATE ; 
GEAR,IDLER ; 
GEAR,INPUT ; 
INSULATOR MOUNTING ; 
JOINT ASSY,UNIVERSAL ; 
OIL Pump ; 
regulating stem ; 
RING GEAR ; 
SHAFT ,INPUT ; 
SHAFT,COUNTER ; 
SHAFT,IDLER ; 
SOLENOID VALVE ; 
SPIDER SET,UNIVERSAL ; 
STRAINER ; 
STRAINER SUB-ASSY,OIL ; 
SYCHRO NIZER ASS`Y ; 
Torque Converter ; 
TORQUE CONVERTOR HEAD ; 
Transmission Kit ; 
Transmission Repair Kits ; 
VALVE ASSY,CONTROL,W/REGULATOR ; 

brake and clutch parts


BOOSTER O/H KIT,CLUTCH ;
BRAKE ASSY,WHEEL ;
BRAKE ASSY,WHEEL REPAIR KITS ;
Brake booster ;
Brake Cable ;
BRAKE PADS ;
Brake Shoe ;
CABLE ASSY,PARKING ;
CLUTCH DISC ;
Clutch Master ;
Clutch O/H KIT ,MASTER ;
Clutch O/H KIT,RELEASE ;
COVER ASSY-CLUTCH ;
CYLINDER ASSY,CLUTCH RELEASE ;
CYLINDER O/H KIT,MASTER ;
CYLINDER O/H KIT,WHEEL ;
Housing Clutch ;
Master Cylinder ;
PLATE,CLUTCH ;
SCREW SUB-ASSY,ADJUSTING ;
SCREW SUB-ASSY,ADJUSTING,RH ;
SPRING,TORSION ;
Wheel Cylinder ;

Electrical/Manual lift truck

Bush ;
Loading Wheel 
Manual forklift 
MANUAL PALLET TRUCKS PU BIG WHEEL 
MANUAL PALLET TRUCKS PU Small WHEEL 
Shaft ;
Solenoid Switch 

Electrical parts


ACTUATOR ;
ALTERINATOR ;
BACKUP ALARMS ;
Battery ;
BREAK LIGHT SWITCH ;
Brush ;
Bulb ;
CABLE,SPARK PLUG ;
CHARGER ;
COMBINATION SWITCH ;
CONNECTOR ;
CONTACT SUB-ASSY ;
CONTACTOR ASSY ;
CONTROLLER ASSY ;
DISTRIBUTOR ;
DISTRIBUTOR CAP ;
DRIVE MOTOR ;
ELECTRIC CABLE ;
ELECTRONIC CARDS ;
EMERGENCY DISCONNECT SWITCH ;
Fuse ;
GLOW PLUG ;
Head Light Switch ;
Horn ;
HORN BUTTON ;
Ignition ;
INDICATOR SWITCH ;
LAMP ASSY,HEAD ;
LAMP ASSY,REAR ;
LAMP WARNING ;
LAMP,COMBINATION FR Head ;
MICRO SWITCH ;
MODULE ;
MOTOR ASSY,POWER STEERING ;
POTENTIOMETER ;
ROTOR ;
SENSOR ;
SENSOR ASSY, TORQUE ;
SPARK PLUGS ;
Starter ;
SWITCH ASSY,IGNITION STARTER ;
SWITCH FORWARD/REVERSE ;
SWITCH,BACKUP ;
Traction battery ;
WATER TEMP SENDER ;

engine parts

AIR FILTER ;
BEARING SET,CAMSHAFT ;
BEARING SET,CONNECTING ROD ;
BEARING SET,MAIN ;
BEARING SET,MAIN ;
Belt ;
BUSHING,CONNECTING ROD ;
CAMSHAFT ;
CAP SUB-ASSY,FUEL ;
CARBURETOR ;
connecting rod ;
COVER,THERMOSTAT ;
Crankshaft ;
cylinder block ;
Cylinder Head ;
Diesel oil pump Solenoid ;
diesel pump ;
Engine ;
ENGINE MOUNT ;
FAN ;
Fan Belt ;
Fan Cooling ;
FILTER FUEL ;
Flywheel ;
Fuel Filter ;
Fuel Injector ;
FUEL PUMP ;
GEAR,IDLE (FOR CAMSHAFT) ;
HEAD GASKET ;
HOSE,WATER BYPASS ;
HOUSING-FLYWHEEL ;
Injection Nozzle ;
Liner ;
LINER KIT ;
LOCK VALVE ;
OIL COOLER STD ;
OIL FILTER ;
Oil Pump ;
OULET VALVE ;
PIPE,WATER OUTLET ;
Piston ;
Piston Ring ;
PLATE,THRUST ;
PULLEY,CRANKSHAFT ;
PUMP HEAD ;
RADIATOR ;
RADIATOR CAP ;
REGULATOR ASSY,LPG ;
Repair Kit OVERHAUL ;
Ring Gear ;
ROD,PUSH ;
SEAL VALVE ;
SHAFT SUB-ASSY,VALVE ROCKER ;
Starter Support ;
TAPPET,VALVE ;
THERMOSTAT ;
Thermostat housing ;
Timing Belt ;
Timing Chain ;
TIMING GEAR,CRANKSHAFT ;
VALVE GUIDE,EXHAUSE ;
VALVE GUIDE,INLET ;
VALVE SEAT,INLET ;
VALVE SEAT,OUTLET ;
VALVE SUB-ASSY,SOLENOID,LPG ;
VALVE,INLET ;
Water Pump ;

WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันจันทร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2557

คุณควรเปลี่ยนน้ำมันเครื่องเมื่อไหร่

สมรรถนะการทำงานของรถขึ้ยอยู่กับสภาพของเครื่องยนต์ และเพื่อการตอบสนองที่ดีมากยิ่งขึ้นก็จะต้องดูแลสภาพของเครื่องยนต์ให้สมบูรณ์อยู่เสมอ  โดยเฉพาะน้ำมันเครื่องที่เปรียบเสมือนเป็นเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงเครื่องยนต์ การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องตามระยะทาง หรือตามเวลา ที่กำหนดจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ซึ่งเป็นการลดการเสื่อมสภาพการทำงานของรถให้ช้าลง  แล้วเราควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องเมื่อไหร่ดี 
      ปัจจัยที่ชี้ชัดว่าคุณควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องได้แล้วนั้น นอกจากระยะทางและระยะเวลาที่ยึดถือปฎิบัติกันอยู่แล้วนั้นก็จะมีองค์ประกอบอื่นๆ ที่สำคัญที่เราควรรู้  ดังนี้
1  ความถี่ในการสตาร์ทขณะเครื่องเย็นมากๆ ทั้งนี้ก็เนื่องจากการเกิดการควบแน่นในขณะที่เครื่องเย็นมากนั่นเอง
2  ประสิทธิภาพในการทำความสะอาดห้องเพลาข้อเหวี่ยง  คือ จะสามารถกักเอาสิ่งสกปรกไว้ไม่ให้ขึ้นไปหล่อลื่นชิ้นส่วนต่างๆ ด้านบนได้มากน้อยเพียงใด
3  ความสมบูรณ์ของเครื่องยนต์ กำลังอัดน้อยเท่าไหร่ การเสื่อมสภาพของน้ำมันเครื่องก็จะยิ่งมากตาม
      ระยะทางที่ใช้ในชีวิตประจำวัน คือ ถ้าระยะทางที่ใช้ในแต่ละวันสั้นและใช้ความเร็วต่ำ ก็จะทำให้น้ำมันเครื่องเสื่อมสภาพเร็ว อย่างในกรณีที่สภาพการจราจรไม่คล่องตัวเคลื่อนๆ หยุดๆ แต่ในขณะเดียวกันเครื่องรถของเราต้องทำงานอยู่ตลอดเวลาแต่รถไม่ได้วิ่ง การเสื่อมสภาพของน้ำมันเครื่องและการสึกหรอเครื่องยนต์นั้นจะเร็วกว่ารถที่วิ่งในระยะไกลแบบถนนโล่งๆ เพราะฉะนั้นถ้าเกิดปัญหาในลักษณะนี้ คุณควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องให้เร็วอืกนิด และอีกกรณีคือ ถ้าใช้รถความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องทุกวันก็จะทำให้น้ำมันเครื่องของคุณเสื่อมสภาพเร็วด้วยเช่นกัน
      ถ้าเป็นรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เบนซิล  ส่วนใหญ่ผู้ผลิตน้ำมันหล่อลื่นจะระบุให้เปลี่ยนน้ำมันตามเกรดและ ประสิทธิภาพของน้ำมันเครื่อง  หรือถ้าเป็นรถที่ไม่ค่อยได้ใช้งานอย่างน้อยที่สุดควรเปลี่ยนน้ำมันเครื่องทุกปี  แต่ผู้ผลิตรถจะระบุให้เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องทุก 8,000 - 10,000  กม. หรือทุกๆ 6 เดือน ( สำหรับน้ำมันเครื่องสังเคราะห์ ) แล้วแต่ว่าอย่างใดอย่างหนึ่งจะถึงก่อน แต่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำว่าถ้าต้องการปกป้องเครื่องยนต์สูงสุดควรเปลี่ยนน้ำมันเครื่องทุก 5,000 กม. หรือทุก 3 เดือนนั่นเอง
   การแจ้งเตือนเมื่อครบกำหนดเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง ตัวนี้จะมีติดมากับรถทุกคันเพื่อช่วยเราในการจำระยะเวลาในการเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง  แต่ถ้าเมื่อใดที่ป้ายนี้หาย คุณก็สามารถบันทึก วัน / เดือน / ปี ที่ครบกำหนดเปลี่ยนน้ำมันเครื่องนี้ไว้ในโทรศัพท์มือถือของคุณก็ได้ เมื่อถึงกำหนดเปลี่ยนเครื่องจะแจ้งคุณโดยอัตโนมัติ
      ในกรณีที่รถจอดอยู่กับที่มากกว่าวิ่ง คุณก็ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องทุก 6 เดือนเช่นกัน เพราะทุกครั้งที่เครื่องยนต์ทำงานจะมีคราบเขม่าและความชื้นจากการเผาไหม้ตกค้างอยู่นั่นเองและความชื้นกับชิ้นส่วนต่างๆ ที่เป็นโลหะจะทำให้เป็นสนิม เราจึงควรทำการเปลี่ยนน้ำมันเครื่องเช่นกัน
       ด้วยรูปแบบการใช้งานของแต่ละคนที่ใช้งานต่างกัน  ทำให้ระยะหรือความถี่ในการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องไม่เท่ากัน  เพราะบางคนอาจใช้รถแค่เดือนละ  1,000 กิโลเมตร ในขณะที่บางคนเดือนเศษๆ ก็ถึงกำหนดเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องแล้ว ในกรณีที่อยากยืดระยะทาง ระยะเวลาในการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง อันเนื่องมาจากไม่สะดวกที่จะต้องเข้ารับบริการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องย่อยๆ ก็ต้องเปลี่ยนไปใช้ Fully Synthetic  Oil  แต่ไม่ว่าคุณจะใช้น้ำมันเกรดไหน ก็ไม่ควรละเลยการดูปริมาณของน้ำมันเครื่องและสภาพของน้ำมันเครื่องอยู่เสมอ และทุกครั้งที่เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องสิ่งที่ละลเยไม่ได้อีกเช่นกันก็คือ  อย่าลืมเปลี่ยนไส้กรองน้ำมันเครื่องและแหวนรองน็อตด้วยทุกครั้ง

WWW.PCNFORKLIFT.COM